กุุญแจคณิตศาสตร์ แบบฝึกหัด2.2 การประมาณค่า

ในบทนี้ มีแบบฝึกหัด การประมาณค่า   การปัดเศษ

และ โจทย์ ปัญหา จำนวนเต็มพัน จำนวนเต็มหมื่น  จำนวนเต็มแสน  จำนวนเต็มล้าน

และการนำการประมาณค่ามาใช้ในชีวิตประจำวัน

1.

 

 

จงเลือกจำนวนในวงเล็บซึ่งมีค่าใกล้เคียงที่สุดกับจำนวนที่กำหนดให้   

แล้วเขียนคำตอบลงในช่องว่าง

  1.

                  1.1 การประมาณค่า  การปัดเศษ

  2.

               1.2 การประมาณค่า  การปัดเศษ

  3.

       1.3 การประมาณค่า  การปัดเศษ

  4.

             1.4 การประมาณค่า  การปัดเศษ

  5.

     1.5 การประมาณค่า  การปัดเศษ

  6.

        1.6 การประมาณค่า  การปัดเศษ

2.

 

จงปัดเศษจำนวนต่อไปนี้ ให้เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง

  1.

       2.1 จงปัดเศษ ให้เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง

  2.

       2.2 จงปัดเศษ ให้เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง

  3.

       2.3 จงปัดเศษ ให้เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง  

  4.

       2.4 จงปัดเศษ ให้เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง

   

การปัดทศนิยมให้เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง

3.

 

 

ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวอังคาร ประมาณ 227,942,840 กิโลเมตร

จงหาจำนวนที่ใกล้ที่สุดเป็น

 

1.

 

 

จำนวนเต็มพัน

       3.1 จำนวนเต็มพัน

   

การปัดเศษเป็นจำนวนเต็มพัน

 

 

2.

 

 

จำนวนเต็มหมื่น

       3.2 จำนวนเต็มหมื่น

 

3.

 

จำนวนเต็มแสน

        3.3 จำนวนเต็มแสน

 

การปัดเศษเป็นจำนวนเต็มแสน

 

 

4.

 

จำนวนเต็มล้าน

        3.4 จำนวนเต็มล้าน

4.

 

 

 

 

 

กรุงเทพมหานครมีพื้นที่  1,565.2  ตารางกิโลเมตร ใน พ.ศ. 2551 

มีประชากร ตามสัมโนครัว  5,710,883  คน

อยากทราบว่า

โดยเฉลี่ยกรุงเทพมหานครมีประชากรประมาณกี่คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร

(ตอบเป็นจำนวนเต็มหน่วย)

   

วิธีทำ

   ประชากรต่อพื้นที่ =   จำนวนประชากร    ÷     พื้นที่

        4. โจทย์การปัดเศษ

      ประชากรประมาณ 3,649 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร

5.

 

 

 

 

 

ปี  2528  โครงการส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เริ่ม

ศึกษาผลิตแก๊สโซฮอล์  95  เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2522

ลิตรละ  31.04 บาท ถ้าเติมน้ำมัน  500  บาท 

อยากทราบว่าจะได้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ประมาณกี่ลิตร 

(ตอบเป็นทศนิยมสองตำแหน่ง)

   

วิธีทำ

จำนวนน้ำมันที่ซื้อได้    =   จำนวนเงินที่เติมน้ำมัน   ÷   ราคาต่อลิตร

                 5. โจทย์การปัดเศษ

จะได้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ประมาณ       16.11    ลิตร

6.  

สถานการณ์ต่อไปนี้ ใช้หลักการปัดเศษได้หรือไม่ เพราะเหตุใด จงอธิบาย

 

1.

 

อุษาต้องการทราบขนาดของกล่องเพื่อใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดกว้าง

และยาว ด้านละ  6.3 เซนติเมตร  สูง  4.5 เซนติเมตร

 

 

ไม่ควร ประมาณเพราะ น่าจะใช้ข้อมูลจริง

เป็นงานจริงที่ละเอียด ไม่ได้ประมาณการ

 

2.

 

วัฒนาต้องการแบ่งพื้นที่ซึ่งมีหน้ากว้าง  14 เมตร ออกเป็นช่อง ๆ

ให้กว้าง ช่องละ  2.5  เมตร  เพื่อตีเส้น ทีที่จอดรถ

 

 

ไม่ได้ เพราะอาจเกิดความผิดพลาดเมื่อนำไปใช้

  3. บุญมีต้องการจัดการเวลา ให้ตัวแทนกลุ่มจำนวน 17 คน พูดคนละ  3 นาที
   

ได้  เพราะสามมารถประมาณเวลาได้

    เช่น  20  x   3   =  60    นาที

 

4.

 

ปานวาดต้องการคำณวนหาจำนวนเงิน  ที่ต้องจ่ายค่าดินสอ  18 แท่ง

ราคาแท่งละ  2.75  บาท

   

 

ไม่ได้   เพราะต้องการความแม่นยำในการจ่ายเงินจริง

            ไม่ใช่การประมาณการ

 

5.

 

ปานวาดต้องการคำณวนหาว่า เงินที่มีอยู่ เพียงพอที่จะจ่ายค่าดินสอ 18 แท่ง

ราคาแท่งละ  2.75  บาท หรือไม่

   

ได้ เพราะ เมื่อปัดเศษ แล้วได้จำนวนเงินมากขึ้น

เป็นการประมาณอย่างคร่าว ๆ

20  X  3 = 60

   

ชอบแล้ว เป็นกำลังใจให้เรา อย่าลืมกดปุ่ม ถูกใจ บน Facebook