กุญแจคณิตศาสตร์แบบฝึกหัด 1.3ก การคูณทศนิยม

  

นักเรียน

ในแบบฝึกหัด การคูณทศนิยม นี้ แสดงวิธีการคูณ ทศนิยม

และแบบฝึกหัดประยุกต์ การคูณทศนิยม

1. จงหาผลการคูณ  
 

1)  0.1 x 0.01

วิธีทำ

                                      1.1 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้  ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนี้

           1.1 การคูณทศนิยม-1

 
 

2)  0.8 x (-0.1)

วิธีทำ

                                      1.2 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ดังนี้

     1.2 การคูณทศนิยม-1

 
 

3)  (-1.5) x (-0.2)

วิธีทำ

          1.3 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ดังนี้

    1.3 การคูณทศนิยม-1

 
 

4)  (-5.4) x 100

วิธีทำ

          1.4 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 1 ตำแหน่ง ดังนี้

             1.4 การคูณทศนิยม-1

 
 

5)  0 x (-10.9)     =  0 

     0 x ? = 0  ศูนย์คูณกับจำนวนใด ๆ ได้ เท่ากับ ศูนย์

 
 

6)  (-1.2) x 0

     0 x ? = 0  ศูนย์คูณกับจำนวนใด ๆ ได้ เท่ากับ ศูนย์

 
 

7)  1 x (-10.9)                     =   - 10.9

 
 

8) (-1) x (-17.5)                  =    17.5

 
 

9)  (-11.1) x (-0.001) 

วิธีทำ

                     1.9 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 4 ตำแหน่ง ดังนี้

      1.9 การคูณทศนิยม-1

 
 

10)  1 x 0.01 x (-0.01)        =   1 x 1 x -1  = -1

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 4 ตำแหน่ง ดังนี้  

        1.10 การคูณทศนิยม

 
2.

จงหาผลลัพธ์

 
 

1)  (-0.35) x (-1.3)

วิธีทำ

               2.1 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนี้

         2.1 การคูณทศนิยม-1

 
 

2)  (-0.002) x 79.5

วิธีทำ

                   2.2 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 4 ตำแหน่ง ดังนี้

            2.2 การคูณทศนิยม-1

 
 

3)  101.2 x (-1.5)

วิธีทำ

              2.3 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ดังนี้

               2.3 การคูณทศนิยม-1

 
 

4)  (-0.05) x 9.5

วิธีทำ

                      2.4 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนี้

                  2.4 การคูณทศนิยม-1

 
 

5)  (-0.02) x 0 x (-0.02)

วิธีทำ

0 x ? = 0       ศูนย์ คูณ กับจำนวนใด ๆได้ เท่ากับ ศูนย์

 
 

6)  (-1.02) x 100 x (-1)

วิธีทำ

    2.6 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ดังนี้

      2.6 การคูณทศนิยม-1

 
 

7)  (-18.05) x (-0.1) x 1000

วิธีทำ

    2.7 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนี้

   2.7 การคูณทศนิยม-1

 

 
 

8)  (5.7 x 8.2) + (5.7 x 1.8)

วิธีทำ

            2.8 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 4 ตำแหน่ง ดังนี้

      2.8 การคูณทศนิยม-1

 

 
 

9)  [(-4.5) x 0.7] + (4.5x 0.7)

วิธีทำ

          2.9 การคูณทศนิยม

 

 
 

10)  [5.1 x (-2.0)] + [3.2 x (-2.0)]

วิธีทำ

                2.10 การคูณทศนิยม        

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 4 ตำแหน่ง ดังนี้

   2.10 การคูณทศนิยม-1

 
3) จงหาผลคูณ  
 

1)  5.3 x 0.01 x 100

วิธีทำ

                         3.1 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนี้

                              3.1 การคูณทศนิยม-1

 
 

2)  0.01 x 0.2 x 250 x 400

วิธีทำ

          3.2 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนี้

                3.2 การคูณทศนิยม-1

 
 

3)  29.992 x 25

วิธีทำ

                                            3.3 การคูณทศนิยม

   ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนี้

                                           3.3 การคูณทศนิยม-1

 
 

4)  999.9 x (-0.7)

วิธีทำ

                                           3.4 การคูณทศนิยม

ดังนั้นเราจะได้ ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ดังนี้

                                     3.4 การคูณทศนิยม-1

 

4.

 

ถ้ามะละกอสุก 1 กรัมมีน้ำอยู่ 0.867 กรัม มะละกอสุกหนัก

1.5 กิโลกรัม จะมีน้ำกี่กรัม

 
 

วิธีทำ

1    กิโลกรัม      เท่ากับ     1,000      กรัม

1.5  กิโลกรัม      เท่ากับ     1,500     กรัม 

มะละกอสุก      1  กรัมมีน้ำอยู่             0.867 กรัม

มะละกอสุก 1,500 กรัมมีน้ำอยู่   0.867  x 1,500   กรัม

         มีน้ำอยู่เท่ากับ                 1,300.5         กรัม

 

5.

 

 

แก้วได้รับเงินค่าขนมเดือนละ 450 บาท ตุณแม่เห็นว่าแก้วเป็น

เด็กดีขยันเรียน จึงตั้งใจจะเพิ่มค่าขนมในเดือนถัดไป ให้เป็น

เท่าครึ่งชองที่เคยให้ แก้วจะได้ค่าขนมในเดือนถัดไปเท่าไร

 
 

วิธีทำ

     แก้วจะได้เงินเดือนหน้า    1.5 เท่า จากเดือนละ  450 บาท

                 =    450  x   1.5   =    675  บาท

 

6.

 

 

เส้นผ่าศูนย์กลางของดาวอังคารเป็น 0.53 เท่า ของ

เส้นผ่าศูนย์กลาง ของโลก ถ้าโลกมีเส้นผ่าศูนย์กลางยาวประมาณ

12,638.8 กิโลเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางยาวประมาณเท่าไร

 
 

วิธีทำ

เส้นผ่าศูนย์กลางของดาวอังคารเป็น 0.53 เท่า ของ

เส้นผ่าศูนย์กลาง ของโลก  เท่ากับ

       =   0.53 x  12,638.8 

       =   6,698.564         กิโลเมตร

 

7.

 

 

น้ำหนักกระดูกของร่างกายหนัก ประมาณ 0.18   เท่าของ

น้ำหนักตัว ถ้าชายคนหนึ่งหนัก 61.5 กิโลกรัม จงหาว่าน้ำหนัก

ส่วนที่ไม่ใช่ของน้ำหนักของกระดูก คิดเป็นปริมาณกี่กิโลกรัม

 
 

วิธีทำ

ส่วนที่เป็นกระดูก   เท่ากับ

             =     0.18 x  61.5   

             =     11.07              กิโลกรัม

ดังนั้น ส่วนที่ไม่ใช่ น้ำหนักของกระดูก เท่ากับ

             =     61.5  -  11.07

             =     50.43              กิโลกรัม

 

8.

 

 

เหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มิลลิเมตร ยาว 2 เมตร

40 เซนติเมตร จะหนักเท่าไร ถ้าเหล็กเส้นขนาดนี้หนัก

เมตรละ 3.276

 
 

วิธีทำ

เหล็กเส้นกลม  1 เมตร       หนัก          3.276            กก.

เหล็กเส้นกลม 2.40 เมตร หนัก      3.276 x 2.40      กก.

เหล็ก 2.40 เมตร หนัก                    7.8624              กก.   

 

9.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ในการซื้อขายอัญมณี เช่น เพชร มรกต และทับทิมสยาม คิดราคา

ตามน้ำหนักและคุณภาพ น้ำหนักวัดเป็นกะรัตและสตางค์ ตาม

มาตรา

    1 กะรัต        เท่ากับ         100 สตางค์ และ

    100สตางค์   เทียบเท่ากับ    0.2 กรัม

ร้านเพชรในฝันสนใจที่จะทำสร้อยคอเข้าประกวด ในงาน

แสดงอัญมณีระดับนานาชาติที่ประเทศฝรั่งเศส ร้านได้ออกแบบ

ตัวเรือนซึ่งต้องใช้เพชรขนาดต่าง ๆ กันดังนี้

    ขนาด   2.5   กะรัต   จำนวน   1 เม็ด

    ขนาด   50    สตางค์ จำนวน    2 เม็ด

    ขนาด   30   สตางค์ จำนวน     8 เม็ด

     ขนาด   20   สตางค์  จำนวน   24 เม็ด

     ขนาด   15   สตางค์  จำนวน   28 เม็ด

จงหาว่า สร้อยเส้นนี้ต้องใช้เพชร ทั้งหมดกี่กะรัต และ

คิดเป็นน้ำหนักทั้งหมดกี่กรัม

 
 

วิธีทำ

ขนาด  2.5 จำนวน 1 เม็ด

             การคูณทศนิยม-1

ขนาด 50 สตางค์  จำนวน  2  เม็ด

          การคูณทศนิยม-2

ขนาด  30 สตางค์  จำนวน  8  เม็ด

          การคูณทศนิยม-3

ขนาด  20  สตางค์  จำนวน  24  เม็ด

        การคูณทศนิยม-4

ขนาด  15  สตางค์  จำนวน  28 เม็ด

        การคูณทศนิยม-5

สร้อยเส้นนี้ต้องใช้เพชร ทั้งหมด  =

                                    การคูณทศนิยม-6

สร้อยเส้นนี้ต้องใช้เพชร ทั้งหมด   2.98     กะรัต

 

 

10.

 

 

 

 

 

 

 

 

การบอกอุณหภูมิของอากาศในประเทศไทย ใช้หน่วยเป็น

องศาเซลเซียส แต่ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ใช้หน่วยเป็น

องศาฟาเรนไฮต์ และหน่วยทั้งสองเปรียบเทียบกันได้ดังนี้

                       10. การคูณทศนิยม

เมื่อ F แทนอุณหภูมิของอากาศที่มีหน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์

    C แทนอุณหภููมิของอากาศ ที่มีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส

ถ้าในวันหนึ่งอุณหภูมิ ที่จังหวัดเลยเป็น -1.25 องศาเซลเซียส

จะเท่ากับกี่องศาฟาเรนไฮต์

 
 

วิธีทำ

อุณหภูมิ ที่จังหวัดเลยเป็น -1.25 องศาเซลเซียส

คิดเป็น องศาฟาเรนไฮต์ 

                       10. การคูณทศนิยม-1

แทนค่า  c = -1.25 องศาเซลเซียส

                      10. การคูณทศนิยม-2

 
 

ชอบแล้ว เป็นกำลังใจให้เรา อย่าลืมกดปุ่ม ถูกใจ บน Facebook