อัตราส่วนที่เท่ากัน
อัตราส่วนจะเท่ากันได้ เมื่อ เราทำการคูณ หรือ หาร อัตราส่วนนั้น ในจำนวนที่เท่ากัน
1. กรณี เมื่ออัตราส่วนที่ได้มาเป็น อัตราส่วนอย่างต่ำ โดยทั่วไปเรามักใช้การคูณ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เช่น อัตราส่วน 1 : 2 สามารถเขียนรูปได้ดังนี้
เขียนได้เป็น อัตราส่วน ได้ เท่ากับ
เมื่อเรา นำ 2 มาคูณ จะได้ ว่า =
จากรูปจะเห็นได้ว่า การแบ่งส่วนย่อยมากขึ้น แต่ พื้นที่เท่ากัน
=
เมื่อเรา นำ 2 มาคูณ จะได้ ว่า
เมื่อเรา นำ 2 มาคูณ จะได้ ว่า
เมื่อเรา นำ 2 มาคูณ จะได้ ว่า
เมื่อเรา นำ 2 มาคูณ จะได้ ว่า
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการคูณด้วย 2 ทั้งเศษ จะไม่ทำให้ค่า ของพื้นที่แรงเงาในรูปไม่เปลี่ยนแปลง
จำนวนพื้นที่ยังเท่าเดิมเสมอ เพราะ การคูณ 2 ทั้งเศษ และส่วน มีค่าเท่ากับ
คูณด้วยค่าคงที่ เท่ากับ 1 เพราะ ดังนั้น
จากรูป ด้านบน พอจะได้คำตอบว่า มีค่าเท่ากันเสมอ
2. กรณี เมื่ออัตราส่วนที่ได้มาเป็น ไม่ เป็นอัตราส่วนอย่างต่ำ โดยทั่วไปเรามักใช้การหาร
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เช่น ให้หา อัตราส่วนที่เท่ากันโดยการหาร
อัตราส่วน 4 : 10 เขียนได้เป็น เราจะทำการหารดังนี้
=
=
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการหาร ด้วย 2 ทั้งเศษ จะไม่ทำให้ค่า ของพื้นที่แรงเงาในรูปไม่เปลี่ยนแปลง
จำนวนพื้นที่ยังเท่าเดิมเสมอ เพราะ การหาร 2 ทั้งเศษ และส่วน มีค่าเท่ากับ
คูณด้วยค่าคงที่ เท่ากับ 1 เพราะ ดังนั้น
จากรูป ด้านบน พอจะได้คำตอบว่า มีค่าเท่ากันเสมอ
_________________________________________________________________________